Blog Archives

มีน้ำปะปนไปกับไอน้ำมากเกินไป

ถาม มีน้ำปะปนไปกับไอน้ำมากเกินไป ตอบ 1. ตรวจสอบการใช้ปริมาณไอน้ำ หากเกิด Priming เนื่องจาก Peak load ก็จำเป็นต้องปรับปรุงการจ่ายไอน้ำให้ค่อยเป็นค่อยไป, เดิน Boiler Pressure ให้ได้ความดันสูงสุดเพื่อลดความเร็วของไอน้ำลง และใช้ Separatorติด ณ ขาออกของ Steam Boiler นอกจากนี้การเกิด Priming จะทำให้ระดับน้ำใน Boiler สูงขึ้น ทำให้ Pump น้ำหยุดลง ซึ่งเป็นสภาวะตรงกันข้ามกับความต้องการไอน้ำสูง ดังนั้นอาจจำเป็นต้องใช้ระบบ 2 term element ควบคุมปริมาณการจ่ายน้ำให้ทัน กับความต้องการซึ่งประกอบด้วย Steam meter, Level probe

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบหม้อไอน้ำ boiler

Steam Trap มักรั่วอยู่เสมอ อยากทราบวิธีการออกแบบระบบ Steam Trap ที่ถูกต้อง

ถาม Steam Trap มักรั่วอยู่เสมอ (เมื่อเปลี่ยนของใหม่แล้วไม่นาน) อยากทราบวิธีการออกแบบระบบ Steam Trap ที่ถูกต้อง และวิธีการเลือก Steam Trap ในแต่ละกิจกรรม ตอบ เลือก Steam Trap ที่มีคุณภาพเชื่อถือได้ ซึ่งจะมีราคาสูงเล็กน้อย แต่หากเทียบกับระยะเวลาที่ปล่อยให้รั่วก็ยังคุ้มค่าอยู่ เช่น เราจะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่า 10 บาท/ชั่วโมง สำหรับ Trap ½” รั่ว หมายถึง 36,000 บาท เมื่อเราปล่อยให้รั่วครึ่งปี ก่อนจะถึงเวลาตรวจสอบในรอบถัดไปโดย ทั่วไป Steam Trap ท่อ Main ควรใช้ Thermodynamic ปลายของท่อ

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

อยากทราบว่าการติดตั้ง Temp. Control ก่อนเข้า Plate H/E กับหลัง H/E อย่างไหนจะดีกว่ากัน (ต่างกันอย่างไร)

ถาม อยากทราบว่าการติดตั้ง Temp. Control ก่อนเข้า Plate H/E กับหลัง H/E อย่างไหนจะดีกว่ากัน (ต่างกันอย่างไร) ตอบ การ ติด Control Valve ก่อนเข้าเครื่อง ความดันไอน้ำภายในเครื่องจะเปลี่ยนแปลงตามความต้องการความร้อน ดังนั้นหาก Heat exchanger ถูกออกแบบ over size ก็จะเกิดปัญหา Condensate ท่วมขังเป็นช่วงๆ เนื่องจากความต้องการอุณหภูมิไอน้ำ น้อยลง ซึ่งก็คือความดันไอน้ำอิ่มตัวที่ต้องการก็จะน้อยลงนั่นเอง การติด Control Valve หลัง Steam Trap ด้านขาออกของเครื่องจะพบว่าความดันใน Heat exchanger คงที่

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, ระบบหม้อไอน้ำ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

อยากทราบรายละเอียดของ Separator

ถาม อยากทราบรายละเอียดของ Separator เนื่องจากปัจจุบันโรงงานมี Line Steam จากหัวอาคารถึงท้ายอาคารยาวประมาณ 400 m. แต่ไม่มีตัวดักน้ำเลยจึงคิดว่าไม่ถูกต้องถ้าติด Separator จะให้ผลดีอย่างไร ตอบ การดักน้ำจากท่อ Steam Main ควรทำกระเปาะรับน้ำทุกๆ จุด ความยาวระยะ 30-50 ม. ถ้าท่อยาว 400 ม. ควรจะมีอย่างน้อย 8 จุด โดยที่กระเปาะที่ว่านี้ถ้าท่อขนาด ½” – 4” ควรมีขนาดเท่าท่อ หากโตกว่านี้สามารถลดขนาดลงได้ 1-2 Size การติดตั้ง Separator ที่ต้นทางแต่ไม่มีจุดดักน้ำก็ไม่ได้ช่วยอะไรเลย คาดว่าท่อจ่ายไอในโรงงานมีการเกิด Water

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

ท่อ ที่จ่ายออกจากตัว Boiler ขนาด 35 t/h ความดัน 8 bar (Saturated Steam) มีขนาด 8” ยาว 20 เมตร มีขนาดเหมาะสมหรือเปล่า

ถาม ท่อ ที่จ่ายออกจากตัว Boiler ขนาด 35 t/h ความดัน 8 bar (Saturated Steam) มีขนาด 8” ยาว 20 เมตร มีขนาดเหมาะสมหรือเปล่า ถ้าไม่เหมาะสมควรจะเป็นขนาดเท่าไร เพราะเกิดปัญหาความดันที่ตัว Boiler กับที่ Steam Header ต่างกันมาก จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไรบ้าง และถ้าแก้ไขแล้วจะสามารถ Save ค่าใช้จ่ายในการผลิต Steam ได้หรือเปล่า ตอบ การ ออกแบบท่อไอน้ำอิ่มตัวของท่อระยะสั้น ๆ ควรใช้ความเร็ว 25 m/s และไม่เกิน 40

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler

ค่า TDS สูง และต้องการลดการ Blowdown ให้น้อยลงโดย Auto

ถาม ค่า TDS สูง และต้องการลดการ Blowdown ให้น้อยลงโดย Auto ตอบ ระบบ Auto ที่เลือกใช้ควรเป็นระบบที่มี Sensor ที่เสียบเข้าไปใน Boiler โดยตรง ซึ่ง Sensor ก็จะต้องประกอบด้วย หลักการ 3 ข้อ คือ 1. ทำความสะอาดด้วยตัวมันเองได้ โดยมีวงจร Reference 2. มี Temperature Compensate เนื่องจาก Temperature ของน้ำใน Boiler เปลี่ยนเนื่องจากความดันเพิ่มหรือลดลง (Saturated Temperature) จะทำให้ค่า Conductivity

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

Steam Trap มีอาการค้างบ่อย

ถาม Steam Trap มีอาการค้างบ่อย ตอบ ตรวจสอบคุณภาพน้ำ Condensate มีสนิมตามมามากหรือไม่ หรือเดินเครื่องไม่ต่อเนื่อง หยุดเป็นเวลานาน จะทำให้ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ทำปฎิกริยากับท่อก่อให้เกิดสนิม นอกจากนี้ trap บางชนิด เช่น Thermodynamic และ Invert Bucket trap อาจจะมีอาการค้าง หากหยุดจ่ายไอน้ำเป็นเวลานาน ซึ่งเกิดจาก Air lock

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

Boiler มักจะจุดไม่ติดอยู่บ่อยๆ ถ้าอากาศหนาว และแรงดันสตีมที่เครื่อง Mixer มีค่าสูงกว่าที่ต้องการทั้งที่ใช้รีดิวซิ่งวาล์วปรับก่อนเข้าเครื่องแล้ว

ถาม Boiler มักจะจุดไม่ติดอยู่บ่อยๆ ถ้าอากาศหนาว และแรงดันสตีมที่เครื่อง Mixer มีค่าสูงกว่าที่ต้องการทั้งที่ใช้รีดิวซิ่งวาล์วปรับก่อนเข้าเครื่องแล้ว กล่าวคือ แรงดันสตีมที่ท่อเมนอยู่ที่ 7 bar และใช้รีดิวซิ่งวาล์วปรับลดลงอยู่ที่ 2 bar ก่อนเข้าเครื่อง แต่แรงดันที่เครื่อง Mixer ที่อ่านได้อยู่ที่ 4 bar ตอบ หากเป็นชนิด Pilot Operate Reducing Valve ตรวจสอบ Reducing Valve รอยรั่ว Pilot Valve, Main Valve และ Orifice เริ่มตันหรือไม่ พร้อมกันนั้นควรศึกษาคู่มือการใช้งานของ Reducing Valve

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบหม้อไอน้ำ boiler

ท่อไอน้ำมีขนาดเหมาะสมหรือไม่ เพราะเกิดปัญหาความดันที่ตัว Boiler กับ Steam Header ต่างกันมาก

ถาม ท่อที่จ่ายออกจากตัว Boiler ขนาด 35 t/h ความดัน 8 bar (Saturated Steam) มีขนาด 8” ยาว 20 เมตร มีขนาดเหมาะสมหรือเปล่า ถ้าไม่เหมาะสมควรจะเป็นขนาดเท่าไร เพราะเกิดปัญหาความดันที่ตัว Boiler กับที่ Steam Header ต่างกันมาก จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไรบ้าง และถ้าแก้ไขแล้วจะสามารถ Save ค่าใช้จ่ายในการผลิต Steam ได้หรือเปล่า ตอบ การออกแบบท่อไอน้ำอิ่มตัวของท่อระยะสั้นๆ ควรใช้ความเร็ว 25 m/s และไม่เกิน 40 m/s ดังนั้นกรณีนี้หากมีอัตราการไหล 35

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบหม้อไอน้ำ boiler

การเลือกระบบบอยเลอร์

การเลือกระบบบอยเลอร์ (Boiler System Selection) ข้อแรกที่ต้องตัดสินใจคือ  การเลือกว่าจะใช้ระบบหม้อไอน้ำหรือระบบน้ำร้อนต้องชัดเจน ขั้นตอนต่อไปก็คือประเมินขนาดของระบบโดยรวม  และลักษณะการเปลี่ยนแปลงภาระงานมีอย่างไรบ้าง  ในทางอุดมคติกรณีที่ภาระงานคงที่และมีจำนวนมาก  จำเป็นต้องใช้หม้อไอน้ำที่มีขนาดใหญ่  แต่ถ้าภาระงานมีพื้นฐานการเปลี่ยนแปลงทุกชั่วโมง  ทุกวันหรือทุกฤดูกาลและต้องการให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น  ก็ต้องติดตั้งหม้อไอน้ำขนาดเล็กหลาย ๆ ลูก ขั้นตอนที่ 3 เป็นการระบุให้ชัดเจนว่าหม้อไอน้ำลูกใดเหมาะสมจะทำหน้าที่อะไร  แผนภูมิการทำงานในรูปที่ 41 และ 42 แสดงให้เห็นแนวทางสำหรับการเลือกหม้อไอน้ำไม่ว่าจะเป็นหม้อไอน้ำหรือหม้อน้ำร้อนก็ตาม  โดยมีพื้นฐานปริมาณการผลิตและเงื่อนไขที่ต้องการ  ในแต่ละระดับของปริมาณการผลิตสามารถเลือกได้จากหม้อไอน้ำที่มีให้เลือกหลายชนิด  จากที่กล่าวมาแล้วในตารางที่ 6 ได้แสดงให้เห็นถึงหม้อไอน้ำชนิดใดให้ประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงที่สุด หม้อไอน้ำที่มีขนาดเล็กควรเลือกใช้เชื้อเพลิงเพียง 2 ชนิดเท่านั้นคือ  แก๊สและน้ำมัน  เพื่อให้ราคาเหมาะสม  อย่างไรก็ตามอาจเผื่อทางเลือกไว้สำหรับหม้อไอน้ำที่มีขนาดใหญ่ให้สามารถใช้กับเชื้อเพลิงได้หลายชนิด  ในกรณีนี้จำเป็นต้องหาข้อมูลในเรื่องค่าใช้จ่ายการลงทุน  การดำเนินการและการบำรุงรักษาจากผู้ผลิต  หรือบางทีอาจจะเป็นผู้ที่ใช้หม้อไอน้ำอยู่เดิม เมื่อมีการเลือกหม้อไอน้ำใหม่  หรือต้องการหาหม้อไอน้ำใหม่มาทดแทนที่มีอยู่เดิม  จำเป็นต้องพิจารณาแผนงานการติดตั้งหม้อไอน้ำแบบพลังงานความร้อนร่วม (Combined

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบหม้อไอน้ำ boiler